-
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
-
กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) /สตรีรพ.สต.กระโด
-
ผ่าน ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85
A = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการปกติในช่วงเวลาที่กำหนด
B = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ ทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกันA
443B
443ไม่น้อยกว่า
85100.00% -
กลุ่มเด็กวัยเรียน (5 -14 ปี)รพ.สต.กระโด
-
ผ่าน ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15
A = จำนวนเด็กอายุ 6 - 12 ปี ที่มีภาวะอ้วน (เริ่มอ้วน + อ้วน)
B = จำนวนเด็กอายุ 6 - 12 ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมดA
4B
131ไม่เกิน
153.05% -
กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี)รพ.สต.กระโด
-
ผ่าน อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน
A = จำนวนการคลอดมีชีพของหญิงอายุ 15 – 19 ปี (ข้อมูลจาก 43 แฟ้ม)
B = จำนวนหญิงอายุ 15 – 19 ปี ทั้งหมด (ข้อมูลประชากรกลางปี 2556 จาก 43 แฟ้ม)A
5B
251ไม่เกิน
5019.92% -
กลุ่มวัยทำงาน (15 – 59 ปี)รพ.สต.กระโด
-
ผ่าน อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน20 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2557
A=จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนทั้งหมด (V01-V89) ปี 2557
B=จำนวนประชากรกลางปี 2557 ทั้งหมด (ปรับตาม Template วันที่ 19 พ.ย.2556)A
0B
5,448ไม่เกิน
200.00% -
ผ่าน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 23 ต่อประชากรแสนคน
A= จำนวนการตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจตามรหัส I20-I25
B= จำนวนประชากรกลางปีในช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งหมด (ปรับตาม Template วันที่ 19 พ.ย.2556)A
0B
5,448ไม่เกิน
230.00% -
กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)และผู้พิการรพ.สต.กระโด
-
ผ่าน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ไม่เกิน 190 ต่อประชากรแสนคน
A = จำนวนการตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองตามรหัส I60-I69 อายุ 60 ปีขึ้นไป
B = จำนวนประชากรกลางปีในช่วงเวลาเดียวกัน อายุ 60 ปีขึ้นไปA
0B
723ไม่เกิน
1900.00% -
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้
-
การเข้าถึงบริการรพ.สต.กระโด
-
ผ่าน ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 16)
A= จำนวนผู้ปุวยนอกที่มารับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
B = จำนวนผู้ปุวยนอกที่มารับบริการทั้งหมดของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐA
590B
2,457ไม่น้อยกว่า
1624.01% -
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
-
ระบบข้อมูลรพ.สต.กระโด
-
ผ่าน หน่วยงานระดับ รพ.สต. มีระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับการบริหารจัดการ
A = จำนวน รพ.สต. ส่งข้อมูล 43แฟ้ม เฉพาะแฟ้ม OP และ PP ผ่าน สสจ.มายังส่วนกลาง
B = จำนวน รพ.สต.ทั้งหมดA
1B
1เท่ากับ
100100.00% -
ตัวชี้วัดตามนโยบายระดับเขตบริการสุขภาพ
-
ประสิทธิผลของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1C อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี
A = ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1C
B = ผู้ป่วยเบาหวานรายเก่ารายใหม่ทั้งหมด ในปี 2557A
0B
40ไม่น้อยกว่า
800.00% -
ไม่ผ่าน สัดส่วนการใช้บริการผู้ป่วยนอกที่ รพ.สต. ต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล ไม่เกิน 35
A= ผลรวมของจำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่โรงพยาบาลทุกแห่งในเขต ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
B=ผลรวมของจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่ รพ.สต.ทุกแห่งในเขตA
5,011B
8,250ไม่เกิน
3537.79% -
QOF สำนักบริการสุขภาพเขตบริการสุขภาพที่ 6
-
W-Workingรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของสตรี 30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมถึงปี 2557 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
A = จำนวนหญิง 30-60 ปี ทุกสิทธิในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่สะสม ตั้งแต่ปี 2553 - 2557
B = จำนวนหญิง 30-60 ปี ทุกสิทธิในเขตรับผิดชอบ (type area 1,3)A
11B
1,102ไม่น้อยกว่า
701.00% -
E-Educationรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
A = จำนวนเด็กประถม 1 ทั้งหมด ได้รับการตรวจช่องปาก( อายุ 6 ปี - 6 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = จำนวนเด็กประถม 1 ทั้งหมด ( อายุ 6 ปี - 6 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
7B
92ไม่น้อยกว่า
857.61% -
C-Childรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีนโรคหัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
A = เด็กอายุ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ได้รับวัคซีนโรคหัด ( อายุ 1 ปี - 1 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = เด็กอายุ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ( อายุ 1 ปี - 1 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
35B
82ไม่น้อยกว่า
9542.68% -
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีนโรค DTP5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = เด็กอายุ 5 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ได้รับวัคซีน DTP5 ( อายุ 5 ปี - 5 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = เด็กอายุ 5 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ( อายุ 5 ปี - 5 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
15B
83ไม่น้อยกว่า
9018.07% -
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
A = จำนวนเด็กต่ำกว่า 3 ปี ทั้งหมด ได้รับการตรวจช่องปาก( อายุ 0 ปี - 2 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = จำนวนเด็กต่ำกว่า 3 ปี ทั้งหมด ( อายุ 0 ปี - 2 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
109B
226ไม่น้อยกว่า
8548.23% -
A-ANCรพ.สต.กระโด
-
ผ่าน ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อละ 60
A = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายในหน่วยบรการที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก โดยอายุครรภ์ไม่เกิน ๑๒ สัปดาห์ (ใช้ข้อมูลระหว่าง ๑ เม.ย. ๕๖ ถึง ๓๑ มี.ค. ๕๗ นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรกของการตั้งครรภ์)
B = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก ในหน่วยบริการทั้งหมดในช่วงระหว่าง ๑ เม.ย. ๕๖ ถึง ๓๑ มี.ค. ๕๗ (นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรกของการตั้งครรภ์)A
30B
48ไม่น้อยกว่า
6062.50% -
ไม่ผ่าน ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อละ 90
A = หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์
B = หญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบA
41B
59ไม่น้อยกว่า
9069.49% -
ผ่าน ร้อยละหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 65
A = หญิงหลังคลอดได้รับการตรวจครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
B = หญิงหลังคลอดทั้งหมดในเขตรับผิดชอบA
50B
55ไม่น้อยกว่า
6590.91% -
N-NCDรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวานไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นเบาหวาน ได้รับการคัดกรองเบาหวานตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคเบาหวานทั้งหมดA
1,343B
1,593ไม่น้อยกว่า
9084.31% -
ไม่ผ่าน ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดA
1,298B
1,538ไม่น้อยกว่า
9084.40% -
อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มี HbA1C น้อยกว่า 7% ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
A = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ มี HbA1C น้อยกว่า 7%
B = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจ HbA1CA
0B
0ไม่น้อยกว่า
400.00% -
O-Olderรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวานไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นเบาหวาน ได้รับการคัดกรองเบาหวานตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคเบาหวานทั้งหมดA
496B
748ไม่น้อยกว่า
9066.31% -
ไม่ผ่าน ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดA
417B
642ไม่น้อยกว่า
9064.95% -
OP-OPDรพ.สต.กระโด
-
ไม่ผ่าน สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล มากกว่า 1.36 (ร้อยละ 68)
A= ผลรวมของจำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่โรงพยาบาลทุกแห่งในเขต ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
B=ผลรวมของจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่ รพ.สต.ทุกแห่งในเขตA
5,011B
8,250ไม่น้อยกว่า
6862.21%