-
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
-
กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) /สตรีจังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
A = จำนวนมารดาตายระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด 6 สัปดาห์ในช่วงเวลาที่กำหนด
B = จำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกันA
0B
1,052ไม่เกิน
150.00% -
ผ่าน ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85
A = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการปกติในช่วงเวลาที่กำหนด
B = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ ทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกันA
54,617B
54,655ไม่น้อยกว่า
8599.93% -
กลุ่มเด็กวัยเรียน (5 -14 ปี)จังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15
A = จำนวนเด็กอายุ 6 - 12 ปี ที่มีภาวะอ้วน (เริ่มอ้วน + อ้วน)
B = จำนวนเด็กอายุ 6 - 12 ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมดA
918B
18,498ไม่เกิน
154.96% -
กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี)จังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน
A = จำนวนการคลอดมีชีพของหญิงอายุ 15 – 19 ปี (ข้อมูลจาก 43 แฟ้ม)
B = จำนวนหญิงอายุ 15 – 19 ปี ทั้งหมด (ข้อมูลประชากรกลางปี 2556 จาก 43 แฟ้ม)A
582B
35,252ไม่เกิน
5016.51% -
กลุ่มวัยทำงาน (15 – 59 ปี)จังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน20 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2557
A=จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนทั้งหมด (V01-V89) ปี 2557
B=จำนวนประชากรกลางปี 2557 ทั้งหมด (ปรับตาม Template วันที่ 19 พ.ย.2556)A
119B
796,481ไม่เกิน
2014.94% -
ผ่าน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 23 ต่อประชากรแสนคน
A= จำนวนการตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจตามรหัส I20-I25
B= จำนวนประชากรกลางปีในช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งหมด (ปรับตาม Template วันที่ 19 พ.ย.2556)A
85B
796,481ไม่เกิน
2310.67% -
กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)และผู้พิการจังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ไม่เกิน 190 ต่อประชากรแสนคน
A = จำนวนการตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองตามรหัส I60-I69 อายุ 60 ปีขึ้นไป
B = จำนวนประชากรกลางปีในช่วงเวลาเดียวกัน อายุ 60 ปีขึ้นไปA
19B
97,243ไม่เกิน
19019.54% -
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้
-
การเข้าถึงบริการจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 16)
A= จำนวนผู้ปุวยนอกที่มารับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
B = จำนวนผู้ปุวยนอกที่มารับบริการทั้งหมดของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐA
157,951B
1,326,033ไม่น้อยกว่า
1611.91% -
ไม่ผ่าน ร้อยละของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI) ได้รับยา ละลายลิ่มเลือด และ/หรือ การขยายหลอดเลือดหัวใจ ( PPCI – Primary Percutaneous Cardiac Intervention) (ร้อยละ 70 )
A = ผู้ปุวยนอก,ผู้ปุวยใน รหัส ICD 10-WHO - I21.0- I21.3 และรหัส ICD 9-CM ดังนี้ 99.10 (Thrombolytic agent)หรือ/และ 37.68 (PPCI)
B = ผู้ปุวยนอก,ผู้ปุวยใน รหัส ICD 10-WHO ดังนี้ I21.0- I21.3 ทั้งหมดA
5B
83ไม่น้อยกว่า
706.02% -
ผ่าน ลดความแออัดในการรับบริการสุขภาพ มีอัตราครองเตียงไม่เกินร้อยละ 85
A = วันนอนผู้ป่วยใน
B = จำนวนเตียงจริงA
-77,681,320B
1,062ไม่เกิน
85-1,984.43% -
คุณภาพการบำบัดรักษาจังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมองลดลง (Fatality Rate) (รหัส ICD S06.0-S06.9)
A = จำนวนผู้ปุวยเสียชีวิตจากบาดเจ็บต่อสมอง
B = จำนวนผู้ปุวยบาดเจ็บที่ศีรษะทั้งหมดA
0B
272น้อยกว่า
500.00% -
ผ่าน ลดอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ภายใน 28 วัน น้อยกว่า ร้อยละ 5
A = จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพน้ำหนักต่ำกว่า2,500 กรัมที่เสียชีวิตภายใน 28 วัน
B = จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพน้ำหนักต่ำกว่า2,500 กรัมที่เกิดในช่วงเวลาเดียวกันA
0B
88น้อยกว่า
50.00% -
ไม่ผ่าน ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา ปีงบ 2556 ร้อยละ 60
A = จำนวนผู้ปุวยเบาหวานที่ได้รับการตรวจจอประสาทตา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
B = จำนวนผู้ปุวยเบาหวานที่มารับบริการรักษาในโรงพยาบาล (คน)A
1,415B
5,042ไม่น้อยกว่า
6028.06% -
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
-
ระบบข้อมูลจังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน หน่วยงานระดับ รพ.สต. มีระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับการบริหารจัดการ
A = จำนวน รพ.สต. ส่งข้อมูล 43แฟ้ม เฉพาะแฟ้ม OP และ PP ผ่าน สสจ.มายังส่วนกลาง
B = จำนวน รพ.สต.ทั้งหมดA
130B
130เท่ากับ
100100.00% -
ผ่าน หน่วยงานระดับ รพช. มีระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับการบริหารจัดการ
A = จำนวน รพช. ส่งข้อมูล 43แฟ้ม สสจ.มายังส่วนกลาง
B = จำนวน รพช.ทั้งหมดA
11B
11ไม่น้อยกว่า
80100.00% -
ผ่าน หน่วยงานระดับ รพร. รพท. รพศ. มีระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับการบริหารจัดการ
A = จำนวน รพร. รพท. รพศ. ส่งข้อมูล 43แฟ้ม สสจ.มายังส่วนกลาง
B = จำนวน รพร. รพท. รพศ. ทั้งหมดA
1B
1ไม่น้อยกว่า
70100.00% -
ตัวชี้วัดตามนโยบายระดับเขตบริการสุขภาพ
-
ประสิทธิผลของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1C อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี
A = ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1C
B = ผู้ป่วยเบาหวานรายเก่ารายใหม่ทั้งหมด ในปี 2557A
319B
8,494ไม่น้อยกว่า
803.76% -
ไม่ผ่าน สัดส่วนการใช้บริการผู้ป่วยนอกที่ รพ.สต. ต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล ไม่เกิน 35
A= ผลรวมของจำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่โรงพยาบาลทุกแห่งในเขต ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
B=ผลรวมของจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่ รพ.สต.ทุกแห่งในเขตA
857,277B
1,434,727ไม่เกิน
3537.40% -
QOF สำนักบริการสุขภาพเขตบริการสุขภาพที่ 6
-
W-Workingจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของสตรี 30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมถึงปี 2557 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
A = จำนวนหญิง 30-60 ปี ทุกสิทธิในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่สะสม ตั้งแต่ปี 2553 - 2557
B = จำนวนหญิง 30-60 ปี ทุกสิทธิในเขตรับผิดชอบ (type area 1,3)A
24,709B
142,318ไม่น้อยกว่า
7017.36% -
E-Educationจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
A = จำนวนเด็กประถม 1 ทั้งหมด ได้รับการตรวจช่องปาก( อายุ 6 ปี - 6 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = จำนวนเด็กประถม 1 ทั้งหมด ( อายุ 6 ปี - 6 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
2,958B
12,677ไม่น้อยกว่า
8523.33% -
C-Childจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีนโรคหัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
A = เด็กอายุ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ได้รับวัคซีนโรคหัด ( อายุ 1 ปี - 1 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = เด็กอายุ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ( อายุ 1 ปี - 1 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
7,306B
11,979ไม่น้อยกว่า
9560.99% -
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีนโรค DTP5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = เด็กอายุ 5 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ได้รับวัคซีน DTP5 ( อายุ 5 ปี - 5 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = เด็กอายุ 5 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ( อายุ 5 ปี - 5 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
4,435B
12,479ไม่น้อยกว่า
9035.54% -
ไม่ผ่าน ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
A = จำนวนเด็กต่ำกว่า 3 ปี ทั้งหมด ได้รับการตรวจช่องปาก( อายุ 0 ปี - 2 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)
B = จำนวนเด็กต่ำกว่า 3 ปี ทั้งหมด ( อายุ 0 ปี - 2 ปี 11 เดือน 30 วัน ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณ)A
14,055B
33,066ไม่น้อยกว่า
8542.51% -
A-ANCจังหวัดปัตตานี
-
ผ่าน ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อละ 60
A = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายในหน่วยบรการที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก โดยอายุครรภ์ไม่เกิน ๑๒ สัปดาห์ (ใช้ข้อมูลระหว่าง ๑ เม.ย. ๕๖ ถึง ๓๑ มี.ค. ๕๗ นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรกของการตั้งครรภ์)
B = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก ในหน่วยบริการทั้งหมดในช่วงระหว่าง ๑ เม.ย. ๕๖ ถึง ๓๑ มี.ค. ๕๗ (นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรกของการตั้งครรภ์)A
4,984B
6,800ไม่น้อยกว่า
6073.29% -
ไม่ผ่าน ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อละ 90
A = หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์
B = หญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบA
2,891B
5,623ไม่น้อยกว่า
9051.41% -
ผ่าน ร้อยละหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 65
A = หญิงหลังคลอดได้รับการตรวจครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
B = หญิงหลังคลอดทั้งหมดในเขตรับผิดชอบA
3,063B
4,707ไม่น้อยกว่า
6565.07% -
N-NCDจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวานไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นเบาหวาน ได้รับการคัดกรองเบาหวานตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคเบาหวานทั้งหมดA
159,975B
239,099ไม่น้อยกว่า
9066.91% -
ไม่ผ่าน ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 35-59 ปี ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดA
155,970B
230,529ไม่น้อยกว่า
9067.66% -
ไม่ผ่าน อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มี HbA1C น้อยกว่า 7% ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
A = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ มี HbA1C น้อยกว่า 7%
B = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจ HbA1CA
119B
319ไม่น้อยกว่า
4037.30% -
O-Olderจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวานไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นเบาหวาน ได้รับการคัดกรองเบาหวานตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคเบาหวานทั้งหมดA
59,871B
105,154ไม่น้อยกว่า
9056.94% -
ไม่ผ่าน ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
A = จำนวนประชาชนไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์
B = จำนวนประชาชนไทยในเขตรับผิดชอบอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดA
52,158B
89,054ไม่น้อยกว่า
9058.57% -
OP-OPDจังหวัดปัตตานี
-
ไม่ผ่าน สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล มากกว่า 1.36 (ร้อยละ 68)
A= ผลรวมของจำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่โรงพยาบาลทุกแห่งในเขต ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
B=ผลรวมของจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกในเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่ รพ.สต.ทุกแห่งในเขตA
857,277B
1,434,727ไม่น้อยกว่า
6862.60%